วันอาทิตย์, มีนาคม 30, 2557

/ oʊ /

/ oʊ / เป็นเสียงสระควบ (Diphthong)

/ oʊ / ใช้แทนเสียงโอ เสียงจะยาวกว่าเสียง / əʊ /

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
goat / ɡəʊt $ ɡoʊt / / โก็ดท $ โกดท / แพะ (N)
show / ʃəʊ $ ʃoʊ / / โช็ว $ โชว / แสดง (V)
no / nəʊ $ noʊ / / โน็ว $ โนว / ไม่ (Adv)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
OME English Note: IPA for English

/ əʊ /

/ əʊ / เป็นเสียงสระควบ (Diphthong)

/ əʊ / ใช้แทนเสียงโอะ เสียงจะสั่นกว่าเสียง / oʊ /

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
goat / ɡəʊt $ ɡoʊt / / โก็ดท $ โกดท / แพะ (N)
show / ʃəʊ $ ʃoʊ / / โช็ว $ โชว / แสดง (V)
no / nəʊ $ noʊ / / โน็ว $ โนว / ไม่ (Adv)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
OME English Note: IPA for English

/ aɪ /

/ aɪ / เป็นเสียงสระควบ (Diphthong)

/ aɪ / สำหรับในภาษาอังกฤษใช้แทนเสียง / อาย / เกิดจากการผสมกันระหว่างเสียงอะ และอิ สำหรับหางเสียงจะเป็นเสียง / j /

a (open front unrounded vowel) เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เหมือนตัวอักษรในภาษาอังกฤษเรียกว่า "เอ" ออกเสียงว่า "อะ"

ɪ (near-close near-front unrounded vowel หรือ near-high near-front unrounded vowel) เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เหมือนตัวอักษรในภาษาอังกฤษเรียกว่า "อาย" หรือ "ไอ" ออกเสียงว่า "อิ๊" (ออกเสียงกึ่งเสียง / อิ / และ / เอะ /)

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
price / praɪs / / พรายซ / ราคา (N)
high / haɪ / / ฮายย / สูง (Ad)
try / traɪ / / ทรายย / พยายาม (V)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
OME English Note: IPA for English
wikipedia.org: Open front unrounded vowel / a /
OME English Note: / ɪ /

/ æ /

æ (near-open front unrounded vowel หรือ near-low front unrounded vowel) เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เรียกว่า "ash" ออกเสียงว่า "แอ"

/ æ / เป็นเสียงสระเสียงสั้น (Short Vowel)

/ æ / ในภาษาอังกฤษใช้แทนเสียง / แอะ / สำหรับหางเสียงจะเป็นเสียง / j /

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
trap / træp / / แทร็บพ / กับดัก (N)
bad / bæd / / แบ็ดด / เลว (Adj)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
OME English Note: IPA for English
wikipedia.org: near-open front unrounded vowel / æ /

/ ɒ /

ɒ (open back rounded vowel หรือ low back rounded vowel) เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เรียกว่า "turned script a" ออกเสียงว่า "ออ"

/ ɒ / เป็นเสียงสระเสียงสั้น (Short Vowel)

/ ɒ / ในภาษาอังกฤษใช้แทนเสียง / เอาะ / มักใช้ออกเสียงใน British English สำหรับหางเสียงจะเป็นเสียง / w /

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
lot / lɒt $ lɑː t / / ล็อดท $ ลาดท / จำนวนมาก (Adv)
odd / ɒd $ ɑː d / / อ็อดด $ อาดด / แปลก, ที่เป็นเลขคี่(Adj)
wash / wɒʃ $ wɒː ʃ , wɑː ʃ / / ว็อดชื $ วอดชื, วาดชื / ล้างออกไป (V)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
OME English Note: IPA for English
wikipedia.org: open back rounded vowel / ɒ /

/ ə /

ə (mid central vowel) เป็นสัญลักษณ์ของ IPA มีลักษณะเหมือนตัวอักษร e กลับหัว เรียกว่า "schwa" ออกเสียงว่า "เออะ"

schwa คือเสียงสระที่ไม่เน้นเสียงในภาษาอังกฤษ

/ ə / เป็นเสียงสระเสียงสั้น (Short Vowel)

/ ə / ในภาษาอังกฤษใช้แทนเสียง / อะ / แต่ถ้ามีเสียงข้างหน้าและหลังของสระนี้จะออกเสียง / เออะ / สำหรับหางเสียงจะเป็นเสียง / j /

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
about / əˈbaʊt / / อะบ้าวท / เกี่ยวกับ (Prep)
comma / ˈkɒmə $ ˈkɑː mə / / ค็อมมะ(ย) $ ค้ามมะ(ย) / เครื่องหมายจุลภาค [,] (N)
common / ˈkɒmən $ ˈkɑː mən / / ค็อมเมินนน $ ค้ามเมินน / ธรรมดา, ที่เกิดขึ้นทุกวัน (Adj)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
OME English Note: IPA for English
wikipedia.org: mid central vowel / ə /

/ ʌ /

ʌ (open-mid back unrounded vowel หรือ low-mid back unrounded vowel) เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เรียกว่า "turned V" ออกเสียงว่า "อะ"

/ ʌ / เป็นเสียงสระเสียงสั้น (Short Vowel)

/ ʌ / ในภาษาอังกฤษใช้แทนเสียง / อะ / ซึ่งมักมีเสียงพยัญชนะเป็นตัวสะกดตลอด สำหรับหางเสียงจะเป็นเสียง / j /

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
strut / strʌt / / สทรัดท / ไม้ค้ำ, การเดินวางท่า (N)
bud / bʌd / / บัดด / แตกหน่อ (V)
love / lʌv / / ลัฟ(ว) / ความรัก (N)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
OME English Note: IPA for English
wikipedia.org: open-mid back unrounded vowel / ʌ /

/ ɔː /

ɔ (open-mid back rounded vowel หรือ low-mid back rounded vowel) เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เรียกว่า "open-o" ออกเสียงว่า "โอว"

ː  เป็นสัญลักษณ์ที่บอกถึงเสียงยาว

/ ɔː  / เป็นเสียงสระเสียงยาว (Long Vowel)

/ ɔː  / ในภาษาอังกฤษใช้แทนเสียง / อัว / ใน British English จะออกเสียงอัวชัดเจน สำหรับ American English ถ้ามีเสียง / r / ท้าย คือ / ɔː r / จะออกเสียง / r / ด้วย จึงทำให้ฟังเหมือนกลายเป็นออกเสียง "ออ" ท้ายเสียงคือ เสียง / r / ซึ่งถ้าฟังให้ดีแล้วยังคงออกเสียงอัวอยู่ แต่เสียงใกล้เคียงกับเสียงออมาก แต่ไม่ใช่ซะทีเดียว สำหรับหางเสียงจะเป็นเสียง / w /

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
thought / θɔː t $ θɒː t / / ซืตวดท $ ซืตอดท / คิด (V)
law / lɔː  $ lɒː  / / ลัวว $ ลอว / กฏหมาย (N)
north / nɔː θ $ nɔː rθ / / นวดซื(ต) $ นอรดซื(ต) / ทิศเหนือ (N)
war / wɔː  $ wɔː r / / วัว(ร) $ วอร/ สงคราม (Pron)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
OME English Note: IPA for English
wikipedia.org: open-mid back rounded vowel / ɔː  /

/ ɒː /

ɒ (open back rounded vowel หรือ low back rounded vowel) เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เรียกว่า "turned script a" ออกเสียงว่า "ออ"

ː  เป็นสัญลักษณ์ที่บอกถึงเสียงยาว

/ ɒː  / เป็นเสียงสระเสียงยาว (Long Vowel)

/ ɒː  / ในภาษาอังกฤษใช้แทนเสียง / ออ / นิยมออกเสียงใน American English (เสียงยาวยืด) สำหรับ British English มักออกเสียงที่สั้นกว่า สำหรับหางเสียงจะเป็นเสียง / j /

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
dog / dɒɡ $ dɒː ɡ / / ด็อกก $ ดอกก / สุนัข (N)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
OME English Note: IPA for English
wikipedia.org: open back rounded vowel / ɒː  /

/ ɑː /

ɑ (open back unrounded vowel หรือ low back unrounded vowel) เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เรียกว่า "script" ออกเสียงว่า "อะ"

ː  เป็นสัญลักษณ์ที่บอกถึงเสียงยาว

/ ɑː  / เป็นเสียงสระเสียงยาว (Long Vowel)

/ ɑː  / ในภาษาอังกฤษใช้แทนเสียง / อา / สำหรับหางเสียงจะเป็นเสียง / j /

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
start / stɑː t $ stɑː rt / / สตาดท $ สตารดท / เกี่ยวกับ (Prep)
father / ˈfɑː ðə $ ˈfɑː ðər / / ฟาซืเดอะ(ร) $ ฟาซืเดอะร / เครื่องหมายจุลภาค [,] (N)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
OME English Note: IPA for English
wikipedia.org: open back unrounded vowel / ɑː  /

/ aʊ /

/ aʊ / เป็นเสียงสระควบ (Diphthong)

/ aʊ / สำหรับในภาษาอังกฤษใช้แทนเสียง / อาว /เกิดจากการผสมกันระหว่างเสียงอะ และอุ สำหรับหางเสียงจะเป็นเสียง / w /

a (open front unrounded vowel) เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เหมือนตัวอักษรในภาษาอังกฤษเรียกว่า "เอ" ออกเสียงว่า "อะ"

ʊ (near-close near-back rounded vowel) เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เรียกว่า "horseshoe u" ออกเสียงว่า "อุ"

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
mouth / maʊθ / / ม้าวซื(ต) / ปาก (N)
now / naʊ / / น้าวว / ตอนนี้ (Adv)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
OME English Note: IPA for English
wikipedia.org: Open front unrounded vowel / a /
OME English Note: / ʊ /

/ n /

n เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เหมือนตัวอักษรในภาษาอังกฤษเรียกว่า "เอ็น"

/ n / เป็นเสียงพยัญชนะก้อง (Voiced) ออกเสียงแบบเสียงนาสิก ปุ่มเหงือก (Alveolar Nasal) ออกเสียงว่า "นา" หรือ "อะนา"

/ n / ใช้แทนเสียง น ในสัทอักษรสากลสำหรับภาษาอังกฤษ ออกเสียง / น / หรือ / นึ / หรือ / หน / หรือ / หนึ / เวลาออกเสียงจะรู้สึกเสียงออกจากปุ่มเหงือกขึ้นจมูก

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
nice / naɪs / / นายซ / ดี (Adj)
know / nəʊ $ noʊ / / เนอว $ โนว / รู้ (Vt)
funny / ˈfʌni / / ˈ ฟันนิ / น่าขบขัน (Adv)
sun / sʌn / / ซัน / ดวงอาทิตย์ (N)
Note: * / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
wikipedia.org: Alveolar nasal
OME English Note: IPA for English

/ m /

m เป็นสัญลักษณ์ของ IPA เหมือนตัวอักษรในภาษาอังกฤษเรียกว่า "เอ็ม"

/ m / เป็นเสียงพยัญชนะก้อง (Voiced) ออกเสียงแบบเสียงนาสิก ริมฝีปาก (Bibial Nasal) ออกเสียงว่า "มา" หรือ "อะมา"

/ m / ใช้แทนเสียง ม ในสัทอักษรสากลสำหรับภาษาอังกฤษ ออกเสียง /ม/ หรือ / มึ / หรือ / หม / หรือ / หมึ / เวลาออกเสียงจะรู้สึกเสียงออกจากริมฝีปากขึ้นจมูก

Vocabulary Pronunciation* การเปล่งเสียง* Meaning
more / mɔː  $ mɔː r / / มัว(ร) $ มัวร / มากกว่า (Adj)
hammer / ˈhæmə $ ˈhæmər / / ˈ แฮมมะ(ร) $ ˈ แฮมเมอะร / ค้อน (N)
some / səm ; strong sʌm / / เซอะม ; strong ซัมม / บางส่วน (Pron)
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
wikipedia.org: Bilabial nasal
OME English Note: IPA for English

เสียงพยัญชนะนาสิก

เสียงพยัญชนะนาสิก เป็นเสียงพยัญชนะที่เกิดจากการหย่อนเพดานอ่อนในปาก แล้วปล่อยอากาศอย่างอิสระออกทางจมูก อวัยวะในช่องปากรูปแบบต่าง ๆ ทำหน้าที่สั่นพ้องเสียงให้ก้อง แต่อากาศจะไม่ออกมาทางช่องปากเพราะถูกกักด้วยริมฝีปากหรือลิ้น นอกจากนี้ยังมีเสียงพยัญชนะอื่นที่ออกเสียงขึ้นจมูก (Nasalized) ซึ่งพบได้ยาก


Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English
wikipedia.org: เสียงพยัญชนะนาสิก

IPA for English

Consonants

ตำแหน่งเกิดเสียง → ริมฝีปาก ลิ้นส่วนหน้า ลิ้นส่วนหลัง โคนลิ้น (ไม่มี)
ลักษณะการออกเสียง ↓ ริมฝีปาก ริมฝีปากกับฟัน ฟัน ปุ่มเหงือก หลังปุ่มเหงือก ปลายลิ้นม้วน เพดานแข็ง เพดานอ่อน ลิ้นไก่ ช่องคอ ลิ้นปิดกล่องเสียง เส้นเสียง
นาสิก /m/      /n/          /ŋ/     
ระเบิด /p/ /b/   /t/ /d/     /k/ /ɡ/          
เสียดแทรก   /f/ /v/ /θ/ /ð/ /s/ /z/ /ʃ/ /ʒ/     /x/             /h/
เปิด                 /j/          
รัว         /r/                 
ลิ้นกระทบหรือลิ้นสะบัด                          
เสียดแทรกข้างลิ้น                
เปิดข้างลิ้น      /l/          
สะบัดข้างลิ้น                 

เสียงพยัญชนะผสม ได้แก่ /tʃ/, /dʒ/

เสียงพยัญชนะเปิดฐานร่วมริมฝีปากและเพดานอ่อน (Labialized Velar Approximant)ได้แก่ /w/

/w/ และ /j/ เป็นเสียงกึ่งสระ (Semivowel)

ในแถวที่มีสัญลักษณ์ปรากฏคู่กัน ตัวซ้ายมือจะแทนเสียงอโฆษะหรือเสียงไม่ก้อง (Voiceless) และตัวขวามือจะแทนเสียงโฆษะหรือเสียงก้อง (Voice)

Consonants คือเสียงพยัญชนะ มีอยู่ 25 เสียง ดังนี้

สัญลักษณ์ การเปล่งเสียง* คำตัวอย่าง
/ m / / มึ /, / หมึ / more, hammer, some
/ n / / นึ /, / หนึ / nice, know, funny, sun
/ ŋ / / งึ /, / หงึ / ring, long, thanks, sung
/ p / / พึ /, / ผึ / pen, copy, happen
/ b / / บึ /back, bubble, job
/ t / / ทึ /, /ถึ / tea, tight, button
/ d / / ดึ / day, ladder, odd
/ k / / คึ /, / ขึ / cup, kick, scholl
/ ɡ / / กึ / get, giggle, ghost
/ f / / ฟึ /, / ฝึ / fat, coffee, rough
/ v / / ฟวึ / view, heavy, move
/ θ / / ซืตื /(ไม่ก้อง) thing, auther, path
/ ð / / ซืดึ /(ก้อง) this, other, smooth
/ s / / ซื /, / สื /(ไม่ก้อง) soon, cease, sister
/ z / / ซึ /, / สึ /(ก้อง) zoo, zone, rose, buzz
/ ʃ / / ชื /, / ฉื /(ไม่ก้อง) ship, sure, station
/ ʒ / / ชึ /, / ฉึ /(ก้อง) pleasure, vision
/ tʃ / / ชึ /, / ฉึ /(ไม่ก้องสั้น) church, match, nature
/ dʒ / / จฉึ /(ก้องสั้น) judge, age, soldier
/ x / / คสึ / loch
/ h / / ฮึ /, / หึ / hot, whole, behind
/ w / / วึ /, /หวึ / wet, one, when, gueen
/ j / / ยึ /, / หยึ / yet, use, beauty
/ r / / รึ /, / หรึ / right, sorry, arrange
/ l / / ลึ /, / หลึ / light, valley, feel
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Vowels

Short Vowels คือเสียงสระเสียงสั้น มีอยู่ 9 เสียง ดังนี้

สัญลักษณ์ การเปล่งเสียง* คำตัวอย่าง
/ ʌ / / อะ / หรือ / อั / strut, bud, love
/ ə / / อะ / ,
/ เออะ /(มีเสียงหน้าและหลัง)
about, comma, common
/ ɪ / / อิ๊ /(นาสิก) kit, bid, hymn
/ i / / อิ / happy, radiation, glorious
/ ɒ / / เอาะ / lot, odd, wash
/ ʊ / / อุ / foot, good, put
/ u / / อิว / influence, situation, thank you
/ e / / เอะ / dress, bed
/ æ / / แอะ / trap, bad
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Long Vowels คือเสียงสระเสียงยาว มีอยู่ 6 เสียง ดังนี้

สัญลักษณ์การเปล่งเสียง คำตัวอย่าง
/ ɑː  / / อา / start, father
/ ɜː  / / เออย / nurse, stir
/ iː  / / อี / fleece, sea, machine
/ ɒː  / / ออ / dog
/ uː  / / อู / goose, two, blue
/ ɔː  / / อัว / thought, law, north, war
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Diphtongs คือเสียงสระควบ หรือสระประสม มีอยู่ 10 เสียง ดังนี้

สัญลักษณ์ การเปล่งเสียง* คำตัวอย่าง
/ aɪ / / อาย / price, high, try
/ / / อาว / mouth, now
/ iə / / เอี่ย / peculiar
/ ɔɪ / / ออย / choice, boy
/ eə / / แอ / squire, fair, various
/ eɪ / / เอ / face, day, steak
/ əʊ / / เออว / goat, show, no
/ oʊ / / โอว / goat, show, no
/ ɪə / / เอีย / near, here, serious
/ ʊə / / อีว / cure, poor, jury
Note:* / British $ American /
* / weak-form ; strong strong-form /

Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
OME English Note: สัทอักษรสากล
Longman Dictionary of Comtemporary English

English Alphabets

อักษรภาษาอังกฤษมีด้วยกัน 26 ตัวด้วยกัน ดังนี้

Alphabet คำอ่าน   Alphabet คำอ่าน
Uppercase Lowercase Uppercase Lowercase
A a เอ N n เอ็น
B b บี O o โอ
C c ซี P p พี
D d ดี Q q คิว
E e อี R r อา
F f เอฟ S s เอส
G g จี T t ที
H h เอช U u ยู
I i อาย V v วี
J j เจ W w ดับเบิ้ลยู
K k เค X x เอ็กซ
L l แอล Y y วาย
M m เอ็ม Z z แซด

เราสามารถเทียบพยัญชนะไทยกับอังกฤษ ตามที่ทางราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดไว้ เพื่อใช้สำหรับเขียนชื่อคน ที่อยู่และสถานที่ มีดังนี้

พยัญชนะไทย พยัญชนะอังกฤษ   พยัญชนะไทย พยัญชนะอังกฤษ
ตัวต้น ตัวสะกด ตัวต้น ตัวสะกด
K k P p
ข ค ฆ Kh k ผ พ ภ Ph p
Ng ng ฝ ฟ F p
จ ฉ ช ฌ Ch t M m
Y n Y -
ด ฎ ฑ(บางคำ) D t R n
ต ฏ T t ล ฬ L n
ถ ฐ ท ฑ ธ ฒ Th t W -
น ณ N n ซ ทร ศ ษ ส S t
B p ห ฮ H -
    เกี่ยวกับตัวสะกดพอสรุปได้ ดังนี้
  • แม่กด ใช้ t
  • แม่กบ ใช้ p
  • แม่กน ใช้ n
  • แม่กง ใช้ ng
  • แม่กม ใช้ m
  • แม่กก ใช้ k

เราสามารถเทียบสระไทยกับอังกฤษ ตามที่ทางราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดไว้ เพื่อใช้สำหรับเขียนชื่อคน ที่อยู่และสถานที่ มีดังนี้

สระไทย สระอังกฤษ   สระไทย สระอังกฤษ
อะ อั อา a อุย อูย ui
อำ อาม am โอย ออย oi
อิ อี i เอย oei
อึ อื อุ อู u เอือย อวย uai
เอะ เอ็ เอ e อิว iu
แอะ แอ ae เอว eo
โอะ โอ เอาะ ออ o แอว aeo
เออะ เออ oe เอียว ieo
ใอ ไอ อัย ไอย อาย ai ฤ(รึ) ฤา(รือ) Ru
เอียะ เอีย ia ฤ(ริ) Ri
เอือะ เอือ อัวะ อัว ua ฤ(เรอ) Roe
เอา อาว ao ฦ ฦา Lu

Refer to:

สัทอักษรสากล

สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย

ตารางสัทอักษรสากล (IPA)

ตำแหน่งเกิดเสียง → ริมฝีปาก ลิ้นส่วนหน้า ลิ้นส่วนหลัง โคนลิ้น (ไม่มี)
ลักษณะการออกเสียง ↓ ริมฝีปาก ริมฝีปากกับฟัน ฟัน ปุ่มเหงือก หลังปุ่มเหงือก ปลายลิ้นม้วน เพดานแข็ง เพดานอ่อน ลิ้นไก่ ช่องคอ ลิ้นปิดกล่องเสียง เส้นเสียง
นาสิก    m    ɱ    n    ɳ    ɲ    ŋ    ɴ  
ระเบิด p b p̪ b̪ t d ʈ ɖ c ɟ k ɡ q ɢ   ʡ ʔ  
เสียดแทรก ɸ β f v θ ð s z ʃ ʒ ʂ ʐ ç ʝ x ɣ χ ʁ ħ ʕ ʜ ʢ h ɦ
เปิด    β̞    ʋ    ɹ    ɻ    j    ɰ      
รัว    ʙ    r    *    ʀ    *  
ลิ้นกระทบหรือลิ้นสะบัด    ̟ (ѵ̟)     (ѵ)    ɾ    ɽ          *  
เสียดแทรกข้างลิ้น ɬ ɮ *    *    *       
เปิดข้างลิ้น    l    ɭ    ʎ    ʟ  
สะบัดข้างลิ้น      ɺ    *    *    *    
  • ในแถวที่มีสัญลักษณ์ปรากฏคู่กัน (อ็อบสตรูอันต์) ตัวซ้ายมือจะแทนเสียงอโฆษะหรือเสียงไม่ก้อง และตัวขวามือจะแทนเสียงโฆษะหรือเสียงก้อง (ยกเว้น [ɦ] ซึ่งเป็นเสียงพูดลมแทรก) อย่างไรก็ตาม เสียง [ʔ] ไม่สามารถก้องได้ และการออกเสียง [ʡ] ยังกำกวม ส่วนในแถวอื่น ๆ (ซอนอรันต์) สัญลักษณ์ที่อยู่เดี่ยว ๆ ก็จะแทนเสียงโฆษะเช่นกัน
  • ช่องที่มีเครื่องหมายดอกจันหมายถึงเสียงนั้น (ยัง) ไม่มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากลอย่างเป็นทางการ
  • ช่องสีเทาแสดงว่าการออกเสียงเช่นนั้นไม่สามารถกระทำได้
  • สัญลักษณ์ [ʁ, ʕ, ʢ] แทนทั้งเสียงเสียดแทรกโฆษะและเสียงเปิดโฆษะ
  • [h] และ [ɦ] ไม่ใช่เสียงเส้นเสียง เสียงเสียดแทรก หรือเสียงเปิดอย่างแท้จริง แต่เป็นการเปล่งเสียงพูด (phonation) มากกว่า


สัญลักษณ์ระบุลักษณะการออกเสียง

ˈ เสียงเน้นหลัก
ˌ เสียงเน้นรอง
ː เสียงยาว
ˑ เสียงกึ่งยาว
˘ เสียงสั้นพิเศษ
. แยกพยางค์ของเสียง
| กลุ่มย่อย (foot)
กลุ่มหลัก (intonation)
เสียงต่อเนื่อง
  • [วงเล็บเหลี่ยม] ใช้สำหรับแสดงรายละเอียดการออกเสียงเชิงสัทศาสตร์ และอาจรวมถึงรายละเอียดที่อาจไม่สามารถใช้จำแนกคำในภาษาที่กำลังทับศัพท์ ซึ่งผู้เขียนก็ยังคงต้องการแสดงรายละเอียดเช่นนั้น
  • /ทับ/ ใช้สำหรับกำกับหน่วยเสียง ซึ่งแตกต่างกันเป็นเอกเทศในภาษานั้น โดยไม่มีรายละเอียดที่ไม่เกี่ยวข้องใด ๆ





Refer to:OME English Note: ตำแหน่งการเกิดเสียง
wikipedia.org: สัทอักษรสากล

ตำแหน่งการเกิดเสียง

ฐานกรณ์ ในทางสัทศาสตร์ เป็นตำแหน่งกำเนิดเสียงพยัญชนะ คือตำแหน่งในช่องเสียง (vocal tract) ที่เกิดการกีดขวาง จากการเคลื่อนตำแหน่งของ กรณ์ (โดยปกติคือ ส่วนของลิ้น) และ ฐาน (ปกติคือ ส่วนของผนังในปาก) โดยเมื่อรวมกับ ลักษณะการออกเสียง (manner of articulation) และ การเปล่งเสียงพูด (phonation) ทำให้เกิดเสียงพยัญชนะที่แตกต่างกัน

ชนิดของการออกเสียง

ฐานกรณ์นั้นแยกออกเป็นการออกเสียงแบบ ฐาน และ กรณ์ ตัวอย่างเช่น

  • ริมฝีปากล่างเป็นกรณ์ (ส่วนเคลื่อนที่) อาจเคลื่อนไปสัมผัส ริมฝีปากบนซึ่งเป็นฐาน (ส่วนไม่เคลื่อนที่) เป็นการออกเสียงจากริมฝีปากคู่ (bilabial) เช่น เสียง [m])
  • ริมฝีปากล่างเป็นกรณ์ (ส่วนเคลื่อนที่) อาจเคลื่อนไปสัมผัสกับ ฟันบน(ฐาน) เป็น เสียงจากริมฝีปากล่าง-ฟันบน (labiodental) เช่น เสียง [f])
  • การสัมผัสเพดานแข็งด้วยส่วนหน้า และ ส่วนหลัง ของลิ้น โดยหากใช้ส่วนหน้าสัมผัส เรียก เสียงปลายลิ้นม้วน (retroflex)
  • หากส่วนหลังลิ้นสัมผัส เรียก เสียงจากหลังลิ้น-เพดานแข็ง (dorsal-palatal) หรือ โดยทั่วไปเรียกเพียง ตาลุชะ/เสียงจากเพดานแข็ง (palatal)



    ตำแหน่งเกิดเสียง (ฐาน และ กรณ์)

  1. ริมฝีปาก ด้านนอก(Exo-labial)
  2. ริมฝีปาก ด้านใน (Endo-labial)
  3. ฟัน (Dental)
  4. ปุ่มเหงือก (Alveolar)
  5. หลังปุ่มเหงือก (Post-alveolar)
  6. หน้าเพดานแข็ง (Pre-palatal)
  7. เพดานแข็ง (Palatal)
  8. เพดานอ่อน (Velar)
  9. ลิ้นไก่ (Uvular)
  10. ช่องคอ (Pharyngeal)
  11. เส้นเสียง (Glottal)
  12. ลิ้นปิดกล่องเสียง (Epiglottal)
  13. โคนลิ้นในช่องคอ (Radical)
  14. ผนังลิ้นส่วนหลัง (Postero-dorsal)
  15. ผนังลิ้นส่วนหน้า (Antero-dorsal)
  16. ปลายลิ้น (Laminal)
  17. ปลายสุดลิ้น (Apical)
  18. ใต้ปลายสุดลิ้น (Sub-apical)
    เสียงแบบกรณ์มีทั้งหมด 5 เสียง คือ
  1. เสียงพยัญชนะริมฝีปาก (labial consonant) เป็นเสียงจากริมฝีปาก หรือ โอษฐชะ
  2. เสียงพยัญชนะโพรงปาก (coronal consonant) เป็นเสียงจากการใช้ส่วนปลายอ่อนตัวของลิ้น
  3. เสียงพยัญชนะหลังลิ้น (dorsal consonant) เป็นเสียงจากการใช้ส่วนกลาง หรือ ส่วนหลังของลิ้น
  4. เสียงพยัญชนะโคนลิ้น (radical consonant) เป็นเสียงจากการใช้โคนลิ้น และ ลิ้นปิดกล่องเสียง (epiglottis)
  5. เสียงพยัญชนะเส้นเสียง (laryngeal consonants) เป็นเสียงจากกล่องเสียง (larynx)

การออกเสียงเหล่านี้สามารถเปล่งแยกจากกัน หรือ สามารถออกเป็นเสียงผสม เรียก การออกเสียงผสม (coarticulation)

การออกเสียงแบบฐาน เป็นการออกเสียงที่ไม่มีการแบ่งแยกชัดเจน โดยตำแหน่งการออกเสียง เสียงจากลิ้น-ริมฝีปากบน (linguolabial) และ เสียงลิ้นระหว่างฟัน (interdental), เสียงจากลิ้นระหว่างฟัน และ เสียงจากฟัน/ทันตชะ (dental), เสียงจากฟัน และ เสียงจากปุ่มเหงือก (alveolar), เสียงจากปุ่มเหงือก และ เสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (palatal), เสียงจากเพดานแข็ง และ เสียงจากเพดานอ่อน (velar), เสียงจากเพดานอ่อน และ เสียงจากลิ้นไก่ (uvular) อาจเชื่อมโยงเหลื่อมกัน และ การออกเสียงพยัญชนะอาจมีการออกเสียงในตำแหน่งก้ำกึ่ง

นอกจากนั้นแล้ว ในการใช้ลิ้นออกเสียง ส่วนที่ใช้สัมผัสอาจเป็นส่วน ผิวบนของลิ้น (blade) ที่ใช้ในการสัมผัส (เสียงพยัญชนะใช้ปลายลิ้น - en:laminal consonant) ,ส่วนยอดของปลายลิ้น (เสียงพยัญชนะใช้ปลายสุดลิ้น- apical consonant), หรือ ผิวใต้ลิ้น (เสียงพยัญชนะใช้ใต้ปลายสุดลิ้น - sub-apical consonant) ซึ่งเสียงเหล่านี้ก็อาจผสมผสานก้ำกึ่งไม่ได้แบ่งแยกชัดเจน

เสียงพยัญชนะที่มีตำแหน่งออกเสียงเหมือนกัน เรียกว่ามี ฐานกรณ์ร่วม เช่น เสียงจากปุ่มเหงือกในภาษาอังกฤษ ดังเสียงของอักษณต่อไปนี้ n, t, d, s, z, l เป็นต้น

ตารางการออกเสียงและฐานกรณ์

ลักษณะการออกเสียง ฐานกรณ์
โอษฐชะ/เสียงจากริมฝีปาก (Labial) เสียงจากริมฝีปากคู่ (Bilabial)
เสียงจากริมฝีปากล่าง-ฟันบน (Labiodental)
ส่วนโพรงช่องปาก (Coronal) เสียงใช้ปลายลิ้น (Laminal) เสียงจากลิ้น-ริมฝีปากบน (Linguolabial)
เสียงลิ้นระหว่างฟัน (Interdental)
เสียงใช้ปลายลิ้น-ฟัน (Laminal dental)
เสียงใช้ปลายลิ้น-ฟัน-ปุ่มเหงือก (Laminal denti-alveolar)
เสียงใช้ปลายลิ้น-ปุ่มเหงือก (Laminal alveolar)
เสียงใช้ปลายลิ้น-หลังปุ่มเหงือก (Laminal postalveolar)
("เสียงปลายลิ้นม้วน" (retroflex) #1)
เสียงโก่งลิ้น (Domed)
(โก่งกลางลิ้นโค้งขึ้นเป็นทรงกลม
สัมผัสเพดานแข็งบางส่วน)
เสียงโก่งลิ้น-หลังปุ่มเหงือก (Domed postalveolar)
("เสียงจากลิ้น-หลังปุ่มเหงือก" (palato-alveolar))
เสียงใช้เพดานแข็ง (Palatalized) เสียงจากเพดานแข็ง-หลังปุ่มเหงือก (Palatalized postalveolar)
("เสียงจากปุ่มเหงือก-เพดานแข็ง" (alveolo-palatal))
เสียงใช้ปลายสุดลิ้น (Apical) เสียงจากปลายสุดลิ้น-ฟัน (Apical dental)
เสียงจากปลายสุดลิ้น-ปุ่มเหงือก (Apical alveolar)
เสียงจากปลายสุดลิ้น-หลังปุ่มเหงือก (Apical postalveolar)
("เสียงปลายลิ้นม้วน" (retroflex) #2)
เสียงใช้ใต้ปลายสุดลิ้น (Sub-apical) เสียงจากใต้ปลายสุดลิ้น-(หน้า)เพดานแข็ง (Sub-apical (pre)palatal)
("เสียงปลายลิ้นม้วน" (retroflex) #3)
หลังลิ้น(Dorsal) หน้าเพดานแข็ง (Prepalatal)
เสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (Palatal)
เสียงจากหน้าเพดานอ่อน (Prevelar or medio-palatal)
เสียงจากเพดานอ่อน (Velar)
เสียงจากหลังเพดานอ่อน (Postvelar)
เสียงจากลิ้นไก่ (Uvular)
โคนลิ้นในช่องคอ (Radical) เสียงจากช่องคอส่วนบน (Upper pharyngeal)
เสียงจากช่องคอส่วนล่าง (Lower pharyngeal)
เสียงพยัญชนะจากลิ้นปิดกล่องเสียง-ช่องคอ ( Epiglotto-pharyngeal)
เสียงพยัญชนะจากลิ้นปิดกล่องเสียง (Epiglottal consonant">(Ary-)epiglottal)
กล่องเสียง (Laryngeal) เสียงจากเส้นเสียง (Glottal)

Refer to:wikipedia.org: ตำแหน่งเกิดเสียง